การเติมคลอรีนในน้ำประปาเป็นวิธีการฆ่าเชื้อโรคในน้ำประปาที่นิยมใช้ที่สุด เนื่องจากวิธีนี้ได้ผลระยะยาว หลังจากเติมคลอรีนลงไปเชื้อโรคที่อยู่ในท่อจ่ายน้ำประปาจะถูกกำจัดขณะอยู่ในท่อน้ำ ส่วนวิธีการฆ่าเชื้ออื่นๆจะทำลายได้เฉพาะแบคทีเรียและไวรัสในน้ำที่ไหลผ่านเข้าไปในช่วงที่มีการฆ่าเชื้อโรคเท่านั้น ถ้าแบคทีเรียหรือไวรัสเกิดขึ้นหลังจากขบวนการฆ่าเชื้อโรคมันจะแพร่กระจายตามปกติ

วิธีเติมคลอรีนมีข้อเสียเล็กน้อยคือ

  1. คลอรีนจะมีรสหลงเหลืออยู่เล็กน้อย
  2. ถ้าใช้คลอรีนจำนวนมากเกินไปจะมีผลต่อการกัดกร่อนของโลหะ

Read More

รายชื่อข้างล่างนี้บางตอนจะไม่มีในชุดวัยหนุ่ม เพราะผดุงศึกษาได้ตกหล่นไป และบางตอนชื่อเรื่องจะไม่ตรงกับชุดวัยหนุ่ม เพราะทางผดุงศึกษาได้เปลี่ยนชื่อไป เช่น ตอนหัสดนตรีสามเกลอ เปลี่ยนเป็นสามเกลอชาโดว์ เป็นต้น

Read More

วัฏจักรเครบส์ เริ่มต้นด้วย อะซิติลโคเอนไซม์ เอ ซึ่งมีคาร์บอน 2 C รวมตัวกับ กรดออกซาโรอะซิติก ซึ่งมีคาร์บอน 4 C ได้เป็นกรดซิตริก ซึ่งมีคาร์บอน 6 C และปล่อย โคเอนไซม์ เอ ออกมาอิสระส่วนกรดซิตริก จะมีการเปลี่ยนแปลงไปหลายขั้นตอน โดยมีการลดจำนวนคาร์บอน จาก

เครป11    ตามลำดับ ได้กรดออกซาโรอะซิติก กลับคืนมาเป็น วัฏจักร ในระหว่างการเปลี่ยนแปลงจะได้

Hและ พลังงาน ATP

Read More

คลอรีน เป็นสารเคมีที่มีประสิทธิภาพสูงสำหรับใช้ฆ่าเชื้อโรค ที่สามารถนำไปใช้ในด้านต่างๆมากมาย ทั้งในด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรม ตลอดจนสาธารณสุข ไม่ว่าจะ เป็นการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ในขบวนการผลิตน้ำดื่ม-น้ำใช้ ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในฟาร์มเลี้ยงปศุสัตว์ ในฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำ ในตลาดสดหรือครัวเรือน ในสระว่ายน้ำ รวมทั้งใช้ในการบำบัดน้ำเสียจากแหล่งต่างๆ เป็นต้น นอกจากนั้นคลอรีนยังมีปลอดภัยสูง เพราะสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ดีมาก และสามารถสลายตัวได้อย่างรวดเร็วในธรรมชาติ

Read More

ประเภทสารเพิ่มความข้นและเพิ่มความคงตัวในทางเครื่องสาอาง

(The Type of Thickening Agents for Cosmetic)

2.jpg

          สารให้ความข้น (Thickening agent หรือ Thickener) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการทำสูตรเครื่องสำอาง เพราะนอกจากจะช่วยควบคุมความข้นแล้ว ยังสามารถช่วยเพิ่มความคงตัว การไหล และเพื่อให้เกิดความรู้สึกที่ดีในการใช้เครื่องสำอางอีกด้วย ดังนั้น ผู้ทำสูตรเครื่องสำอาง   จำเป็นจะต้องศึกษา Thickener ก่อนการนำมาใช้ เพื่อให้มีความเหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด

Read More

ลิโพวิตัน-ดี ราคา 12 บาท

  • น้ำตาลซูโครส 18 กรัม
  • เทารีน 1 กรัม
  • ซิตริก แอซิด 0.5 กรัม
  • กลูคูโรโนแลกโทน 0.4 กรัม
  • กาเฟอีน 0.05 กรัม
  • อิโนซิตอล 50 มก.
  • ไนอะซินาไมด์ 20 มก.
  • แพนโทธีนอล 5 มก.
  • วิตามิน บี 6 5 มก.
  • วิตามิน บี 12 5 มคก. (มคก. ไม่รู้ว่าย่อมาจากอะไร น่าจะเป็นไมโครกรัม)

Read More

ฟลาโวนอยด์ (flavonoid) หรือไบโอฟลาโวนอยด์ เป็นเมทาบอไลต์ที่สองของพืชกลุ่มหนึ่ง เป็นสารประกอบฟินอล (phenolic compounds) ประเภทพอลิฟีนอล (polyphenol) มีสูตรโครงสร้างทางเคมีเป็นวงแหวนแอโรมาติก (aromatic ring) ที่มีจำนวนหมู่ไฮดรอกซิล (hydroxyl group) รวมอยู่ในโมเลกุล ตั้งแต่ 2 วงขึ้นไป ในทางเคมี,มีโครงสร้างที่มี 15 คาร์บอนโดยประกอบด้วย 2 วงฟีนิล(A และ B) และ 1 Heterocyclic ring เขียนย่อได้ว่า C6-C3-C6 ตามการเขียนของ IUPAC

Read More

#คณิตศาสตร์
คอร์สคณิตม.4: (9 บท)
เทอม1: เซต , การให้เหตุผล , ตรรกศาสตร์ , จำนวนจริง , ทฤษฎีจำนวน
เทอม2: ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน , เมทริกซ์ , เรขาคณิตวิเคราะห์ , ภาคตัดกรวย
.
คอร์สคณิตม.5: (10 บท)
เทอม1: ลำดับอนุกรมจำกัด , เลขยกกำลัง , เอ็กซ์โปล็อก , ตรีโกณมิติ , เวกเตอร์
เทอม2: จำนวนเชิงซ้อน , ทฤษฎีกราฟ , สถิติ , การนับความน่าจะเป็น , ทวินาม
.

Read More

สารลดแรงตึงผิว คือสารที่มีคุณสมบัติในการรวมโมเลกุลให้มีน้ำหนักมากขึ้น เพื่อลดแรงเกาะหรือแรงตึงผิว (surface tension) ระหว่างกันของสสารนั้นๆ มีการนำไปใช้ประโยชน์ในกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ เช่นผลิตภัณฑ์น้ำทำความสะอาดและฆ่าเชื้อ สารลดแรงตึงผิวจัดเป็นสารพวก amphiphilic molecules ซึ่งในโมเลกุลประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่

ภาพที่ 1 โครงสร้างของสารลดแรงตึงผิว

Read More