ชื่อสามัญ:

อิมิดาคลอพริด(Imidacloprid) 70%wg

ประเภทของยา :

ผง

อัตราการใช้:

อัตรา 2 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร  พ่นป้องกันเพลี้ย

เมื่อพบเพลี้ยระบาดควรใช้ อัตรา 5 ซีซี. ผสมน้ำ 20 ลิตร

ควรศึกษารายละเอียดการใช้จากฉลากเพิ่มเติมก่อนใช้

Read More

ชื่อสามัญ:

ฟิโพรนิล(fipronil)   5% W/V SC

กลุ่มสารเคมี :

Phenylpyrazole

ประเภทของยา :

น้ำ

คุณสมบัติพิเศษ :

เป็นยาเย็น

อัตราการใช้:

อัตรา 10-15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร  พ่นเมื่ป้องกันเพลียหรือแมลง

เมื่อพบเพลียหรือแมลงระบาดควรใช่ อัตรา 20-30 ซีซี. ผสมน้ำ 20 ลิตร

ควรศึกษารายละเอียดการใช้จากฉลากเพิ่มเติมก่อนใช้

Read More

ชื่อสามัญ:

คลอร์ไพริฟอส ( chlorpyrifos ) 40 % EC

ประเภทของยา :

น้ำ

อัตราการใช้:

อัตรา 30 – 40 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร

ควรศึกษารายละเอียดการใช้จากฉลากเพิ่มเติมก่อนใช้

Read More

ชื่อสามัญ:

ไซเปอร์เมทริน 35% Cypermethrin 35% w/v EC

กลุ่มสารเคมี:

Pyrethroid

ประเภทของยา :

น้ำ

สารสำคัญ:

(RS)-α-cyano-3-phenoxybenzyl(1RS,3RS;1RS,3SR-3-(2,2-dichlorovinyl)-2-2-dimethylcyclopropanecarboxylate

อัตราการใช้:

อัตรา 5-10 ซีซี. ผสมน้ำ 20 ลิตร พ่นเมื่ป้องกันแมลง

เมื่อพบแมลงระบาดควรใช่ อัตรา 15-25 ซีซี. ผสมน้ำ 20 ลิตร

ควรศึกษารายละเอียดการใช้จากฉลากเพิ่มเติมก่อนใช้

Read More

ชื่อสามัญ:

อะบาเม็กติน (abamectin) 1.8% w/v EC

ประเภทของยา :

น้ำ

อัตราการใช้:

กำจัดแมลงศัตรูใช้อัตรา  20  ซีซี  ผสมกับน้ำ  20  ลิตร

กำจัดแมลงศัตรูพืชอื่น ๆให้ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากฉลาก

Read More

ชื่อสามัญ:

บูโพรเฟซิน 25% W/P

กลุ่มสารเคมี :

Thiadiazine

ประเภทของยา :

ผง

สารสำคัญ :

2-tert -butylimino-3-isopropyl-5-phenl-1,3,5-thiadiazinan-4-one

คุณสมบัติพิเศษ :

เป็นสารยับยั้งการลอกคราบของแมลง

ควบคุมการฟักไข่ ลดการวางไข่ จึงควบคุมแมลงได้นาน

อัตราการใช้:

อัตรา 30 กรัม ต่อ 20 ลิตร

ควรศึกษารายละเอียดการใช้จากฉลากเพิ่มเติมก่อนใช้

Read More

ชื่อสามัญ:

คาร์โบซัลแฟน 20 % w/v EC

กลุ่มสารเคมี :

Carbamate

ประเภทของยา :

น้ำ

สารสำคัญ :

2,3 dihydro-2,2-dimethyllbenzofuran-7-yl(dibutylaminothio)methylcarbamate

อัตราการใช้:

อัตรา 20 – 40 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร

ควรศึกษารายละเอียดการใช้จากฉลากเพิ่มเติมก่อนใช้

Read More

1. เพลี้ยไฟ

2. ไรแดง/ไรขาว

3. ไวรัส

1.เพลี้ยไฟ
แมลงปากดูดที่สร้างความเสียหายให้กับเกษตรกรเป็นอย่างมาก มักระบาดในช่วงฤดูแล้ง และเป็นสาเหตุของโรคไวรัสในพริกอีกด้วย

การเข้าทำลายของเพลี้ยไฟ ลักษณะใบจะหงิกโดยขอบใบจะม้วนขึ้น หรือเรียกง่ายๆว่า “หงิกหงาย”

แนวทางการรักษา แนะนำให้ใช้ควบคู่ระหว่างสารกำจัดแมลงที่มีลักษณะการออกฤทธิ์สัมผัสและดูดซึมควบคู่กัน และควรสลับกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการดื้อยา และไล่กลุ่มที่ออกฤทธิ์รุนแรงขึ้นไปเรื่อย ถ้าอาการไม่ดีขึ้น

 

Read More