Peat= ซาก
Moss=ต้นมอสแหละครับ
รวมเป็นซากต้นมอส

มันเริ่มจากเมื่อก่อนมีนักเดินทางเดินทางผ่านป่าบนที่ราบสูงที่มีหิมะ
ปกคลุมปีละ6-8เดือน ส่วนอีก4-6เดือนเป็นป่าที่มีต้นสนและต้นมอสขึ้นเป็นผืนใหญ่โดยมีพืชอื่นขึ้นน้อยมาก ซึ่งการเดินทางผ่านต้องใช้เวลาพอสมควร นักเดินทางมักจะขุดหิมะเพื่อเอาดินแถบนั้นมาเป็นเชื้อเพลิงเพื่อสร้างความอบอุ่น

จากคุณสมบัติที่ดินแถบนั้นสามารถจุดไฟได้ง่ายและติดไฟได้นาน
มันแสดงให้เห็นว่าดินแถบนั้นมีความโปร่งมากทำให้ติดไฟง่ายและโครงสร้างต้องแน่นและทนพอสมควรจึงติดไฟได้นาน
เวลาผ่านไปจนมีนักเดินทางช่างสังเกตและมีเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น รวมถึงมีมนุษย์เริ่มไปอาศัยในพื้นที่ใกล้เคียงและร่ำลือถึงป่าแห่งนั้นว่าไม่ค่อยมีพืชอื่นขึ้น จนทำให้เหล่านักพฤกษศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ไปสำรวจพื้นที่แห่งนั้น
แล้วพบว่า….. พื้นที่แห่งนั้นเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการตายทับถมกันของต้นมอสสายพันธุ์

Read More

“ยาร้อน”
คือยาที่เมื่อพ่นไปแล้วมีผลกระทบในทางลบกับพืช เช่น ขอบใบไหม้ ยอดอ่อนไหม้ ใบหรือดอกร่วง ฯลฯ ส่วนใหญ่มักเป็นยาที่มีสูตร EC เช่น คลอไพริฟอส 40% EC, ไซเปอร์เมทริน 35%EC, อะบาเมกติน 1.8%EC ฯลฯ

ลักษณะของสูตร EC คือ สารออกฤทธิ์จะละลายอยู่ในน้ำมันผสมเป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อนำไปผสมน้ำแล้วจะได้อิมัลชั่นสีขาวขุ่น
.
ซึ่งสูตร EC เป็นสูตรที่มีตัวทำละลาย หรือ Solvent มีคุณสมบัติไวไฟ และมักจะเป็นพิษกับพืช

คำถามที่หลายๆคนสงสัย “แล้วอย่างนี้ ยาร้อนจะปลอดภัยหรือ?”
.
คำตอบของเราก็คือ “ปลอดภัย หากใช้ตามคำแนะนำบนฉลากอย่างเคร่งครัด คือ เลือกยาให้ถูกกับศัตรูพืช ใช้ในอัตราที่ถูกต้อง พ่นให้ถูกช่วงเวลา พืชก็จะไม่เสียหาย และยังสามารถปกป้องและบำรุงพืชได้เป็นอย่างดี”

Read More

The hydroponic nutrient solution is the sole source of nutrients to the plant. Therefore, it is imperative to apply a balanced solution, that contains all plant nutrients, at the right balance.

Several important factors have to be considered when choosing fertilizers and preparing a hydroponic nutrient solutions:

  •   Water quality – salinity, concentration of potential harmful elements (like sodium, chlorides and boron)
  •   Required nutrients and their concentrations in the hydroponic nutrient solution
  •   Nutrient balance
  •   The pH of the hydroponic nutrient solution and its effect on uptake of nutrients by plants

Read More

Definitely one of the most important problems dealing with the stability of hydroponic solutions is the availability of the iron (Fe+2 or Fe+3) ions. Since iron easily forms hydroxides and insoluble salts with other ions present in hydroponic media it becomes essential for us to provide iron in a way which is accessible to the plant and does not “come out” of the hydroponic solution through precipitation. Within the next few paragraphs I will talk to you about different iron sources available to hydroponic growers and which source is actually the best one we can use in hydroponic nutrient solutions. We will go through the different factors that make an iron source better or worse and finally we will be able to choose one as the ideal source for our nutrient needs.
What is the problem with iron ? The main problem we have with iron is that – unlike most other transition metal ions in hydroponic solutions – it is a very strong hard lewis acid which easily forms insoluble salts with many of the hard lewis bases within our hydroponic solutions. When iron is added to a nutrient solution in its “naked” form (for example when adding iron (II) sulfate) the ion easily reacts with carbonate, phosphate, citrate, oxalate, acetate or hydroxide ions to form insoluble compounds that make the iron effectively unavailable to our plants. To put it in simpler terms, iron ions have a chemical nature which is similar but opposite to that of many other constituents of our hydroponics solution meaning that when they meet together they form a “perfect match” that does not easily separate.

Read More

คำถามนี้มาจากการพบศัตรูพืชมากกว่าหนึ่งชนิดในพื้นที่เพาะปลูก การนำชีวภัณฑ์มาผสมเพื่อพ่นในคราวเดียวกันช่วยลดค่าแรงไปส่วนหนึ่ง ชีวภัณฑ์ที่กล่าวถึงมี4กลุ่มคือแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา และไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง 

?กลุ่มที่ผู้ใช้ต้องการนำมาผสมรวมกันมากที่สุดคือแบคทีเรียกับเชื้อรามีหลักการง่ายๆคือ

?1.เชื้อที่นำมารวมกันต้องไม่เป็นปรปักษ์กันเองเช่นบีทีกับเชื้อราทำลายแมลงทั้งราขาว ราเขียว นำมาใช้พร้อมกันได้ 

?2.เชื้อราแมลงใช้ร่วมกับเชื้อโรคพืช ไตรโคเดอร์มาไม่ได้เพราะไตรโคเดอร์มาเป็นเชื้อราปรปักษ์ จะทำลายเชื้อราแมลงหมด 

Read More

สารเพิ่มประสิทธิภาพ หมายถึง สารใดก็ตามที่ใช้ผสมกับ PGRC แล้วทำให้ประสิทธิภาพของ PGRC สูงขึ้น เช่น อาจทำให้การดูดซึม PGRC เข้าไปในพืชดีขึ้น ทำให้สารคงทนอยู่บนใบพืชหรือในต้นพืชนานขึ้น หรืออาจปรับปรุงคุณสมบัติในการละลายของ PGRC ให้ดีขึ้นถ้าจะแบ่งกลุ่มของสารเพิ่มประสิทธิภาพออกเป็นพวกๆ เพื่อสะดวกต่อการเข้าใจจะได้ดังนี้

1. surfactants หรือ surface active agents เป็นสารที่มีผลต่อผิวสัมผัสระหว่างหยดของสารและผิวใบ ซึ่งแบ่งย่อยได้ดังนี้
1.1 สารเปียกใบ หรือยาเปียกใบ (wetting agents) เป็นสารที่ช่วยลดแรงตึผิวของสารละลายจึงมีผลทำให้หยดของสารแผ่กระจายแบนราบไปกับผิวใบ ดังนั้นโอกาสที่สารจะถูกดูดซึมเข้าไปภายในใบจึงมีมากขึ้นเนื่องจากพื้นที่ที่หยดสารสัมผัสกับใบมีมากขึ้น

Read More

สารเสริมประสิทธิภาพ คือ สารที่ช่วยการทำงานของสารเคมีให้ดีขึ้น เช่นช่วยการดูดซึมในใบพืช หรือ ช่วยในการละลาย

สารเสริมฯ ที่เกษตรกรคุ้นเคยกันดี คือ สารจับใบ ซึ่งก็มีมากมายหลายชนิด
สารแปะใบ(sticker)-สเปร์ยตอล เป็นสารเสริมฯที่ได้รับความนิยมเพราะมีราคาถูก ทำหน้าที่คล้ายกาวช่วยให้สารเคมียึดติดใบพืชได้มากขึ้น ทนการชะล้างจากฝนได้ดีขึ้น เหมาะสำหรับใช้ร่วมการสารเคมีที่ออกฤทธิ์สัมผัสไม่เน้นการดูดซึมเข้าใบพืช

Read More

โดยทั่วไปสารจับใบ จะต้องมีสารตัวนี้ครับ
1. สารลดแรงตึงผิวของน้ำ มีหน้าที่ทำให้น้ำที่ผสมปุ๋ย หรือยา ลดแรงตึงผิวลง ทำให้สามารถที่จะกระจายตัวไปเปียกบนใบและส่วนต่าย ๆ ของพืชได้ดีขึ้นครับ
2 . สารตัวที่สองคือ สารที่ช่วยในการกระจายตัวของน้ำ ทำหน้าที่ในการแทรกซึมตามซอกมุมของพืชให้ยามีการสัมพัสกับส่วนต่าง ๆ ของพืชได้มากขึ้น อย่างในกรณีของหญ้าหรือ พืช ที่มีขนบางยี่ห้อที่ไม่มีสารตัวนี้ ก็จะทำให้ยาไม่สามารถซึมแทรกเข้าไปสัมผัสกับผิวที่แท้จริงของพืชได้
3. สารที่ช่วยในการยึดเกาะพื้นผิว ทำหน้าที่เป็นเสมือนกาว ช่วยลดการชะล้างสารเคมีหรือปุ๋ยจากการรดน้ำตามปกติ หรือจากน้ำฝนครับ ถ้าหากว่ายาจับใบที่ท่านใช้อยู่มีสารตัวนี้ ควรจะระมัดระวังอย่าให้เกินกว่าที่ฉลากระบุนะครับ เพราะอาจจะได้ผลเสียมากกว่าผลดี เพราะจะทำให้สารเคมีที่ใช้ไปจับ เป็นคราบขาว อาจทำให้สังเคราะห์แสงได้น้อยลงได้

Read More

In my first blog I talked about pH control. pH control is very important for the uptake off nutrients by the plant. Especially the Iron (Fe) and Manganese (Mn) uptake can be very problematic when the pH is too high.

To make it easier for the plant we use chelates, a chelate is a kind of protector that avoid that the element inside become deposit in the system and not reach the root zone. Every plant is capable to take the element outside the chelate.
There are four main types of chelate that are used in the agro culture, every chelate have its own advantage and disadvantage. Which chelate is the best for you is depending on three things: pH, watering system and element inside the chelate.
Different type of chelates: EDTA, DTPA, HEEDTA and EDDHA (you can also find HEDTA, EDDHMA, EDDHAS etc. but these chelates have more or less the same characteristics)

Read More

แคลเซียมโบรอน เป็นธาตุอาหารที่อยู่ในรูปที่ละลายน้ำได้ทั้งหมดและพืชสามารถนำไปใช้ได้ทันที ประกอบด้วย แคลเซียม , โบรอน กรดอะมิโน 17 ชนิด และอื่นๆ ในสัดส่วนที่เหมาะสม ช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่มการผสมเกสร ลดการหลุดร่วงของขั้วดอกและขั้วผล ขยายขนาดผล กระตุ้นการแตกตาดอก ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี ทำให้พืชแข็งแรง ใบเขียว ป้องการอาการก้นดำในมะเขือเทศ ไส้ดำในกะหล่ำปลี ทำให้โครงสร้างพืชแข็งแรง ต้านทานโรคได้ดี

Read More